OFFICE HOUR : จันทร์-ศุกร์ 08:30-17:30
จันทร์-ศุกร์ : 02-541-5675, 02-541-5676
Origin of Biosafety Cabinets
งานค้นคว้า วิจัย ในห้องแลบเกี่ยวข้องกับสารเคมี และสิ่งมีชีวิตต่างๆ (Microorganisms) บ่อยครั้งสามารถสร้างอันตรายได้ เช่น เชื้อแบคทีเรีย ไวรัส และสารเคมี (Biohazardous Agents / Material) เพื่อให้สามารถทำงานกับเชื้อโรคหรือสารเคมีได้ปลอดภัย ตู้ปลอดเชื้อ (ฺBSC) จึงถือกำเนิด และถูกพัฒนากลายเป็นอุปกรณ์ในห้องแลบที่ขาดไม่ได้ในปัจจุบัน ไม่ว่าจะเป็นโรงพยาบาล คลีนิค รวมถึงโรงงานอุตสาหกรรมอาหาร ยาและอิเล็กทรอนิกส์
What is biological safety cabinets?
Type of BSCs
ตู้ปลอดเชื้อ (BSC) สามารถแบ่ง 3 ประเภท ตามขอบข่ายการใช้งานและความสามารถในการป้องกัน ดังนี้
Biosafety Level 1, 2, 3, 4
Biosafety Level 1-4 เป็นระดับความปลอดภัยที่ CDC (Centers for Disease Control and Prevention) และ NIH (National Institutes of Health) ของประเทศอเมริกา กำหนดให้ใช้กับงานในห้องปฏิบัติการต่างๆ
Biosafety Level 1
ว่าด้วยงานที่เกี่ยวข้องกับสิ่งมีชีวิต (Microorganisms) ที่ไม่ก่อให้เกิดโรคหรืออันตรายต่อผู้ปฏิบัติงานใดๆทั้งสิ้น
Biosafety Level 2
ว่าด้วยงานที่เกี่ยวข้องกับสิ่งมีชีวิต (Microorganisms) ที่สามารถก่อให้เกิดโรคหรืออันตรายต่อผู้ปฏิบัติงานได้ เช่น ไวรัส Hepatitis B, HIV หรือ Salmonella เป็นต้น
Biosafety Level 3
ว่าด้วยงานที่เกี่ยวข้องกับสิ่งมีชีวิต (Microorganisms) ที่สามารถก่อให้เกิดโรคหรืออันตรายต่อผู้ปฏิบัติงาน และถ่ายทอดต่อกันทางระบบหายใจ รวมทั้งทำให้เสียชีวิตได้ เช่น Mycobacterium Tuberculosis, St. Louis Encephalitis Virus และ Coxiella Burnetti เป็นต้น
จำเป็นต้องทำใน BSC Class I หรือ II เพื่อความปลอดภัยของผู้ปฏิบัติงาน
Biosafety Level 4
ถือเป็นงานในห้องปฏิบัติการที่อันตรายและต้องการความระมัดระวังมากที่สุด เนื่องจากเชื้อโรคเหล่านี้สามารถทำให้เสียชีวิตได้ รวมทั้งก่อให้เกิดการระบาดผ่านทางอากาศได้
จำเป็นต้องทำใน BSC Class III เท่านั้น รวมไปถึงการสวมใส่ Air-Supplied Positive-Pressure Personnel Suit ด้วย
Proper BSC for BSL
BSC Class | Biosafety Level | Application |
Class I | 1, 2, 3 | Low to moderate risk biological agents |
Class II | 1, 2, 3 |
Low to moderate risk biological agents |
Class III | 1, 2, 3, 4 |
Low to high risk biological agents |